วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2557

คำสั่ง SQL

ความหมาย
      SQL เปนภาษาที่ทําใหผูใชสามารถทํางานกับขอมูลที่เก็บบนฐานขอมูลเชิงสัมพันธโดย SQL ไดรับ
การออกแบบใหมีการดําเนินการกับขอมูลแบบโตตอบระหวางผูใชกับคอมพิวเตอรโดยตรง ดวยการพิมพคําสั่ง SQL ในหนาจอโปรแกรมที่ใชจัดการฐานขอมูล และผลลัพธของขอมูลก็จะปรากฏบนหนาจอในทันที นอกจากนี้โปรแกรมเมอรยังสามารถนําคําสั่ง SQL แทรกเขาไปในสวนของโปรแกรมคอมพิวเตอร ที่เขียนมาเชนกันได
        SQL เปนภาษามาตรฐานที่ใชติดตอกับระบบฐานขอมลเชิงสัมพันธ
(Relational Database Management System) (Relational Database Management System) หรือRDBMS ซึ่ง ANSI ไดประกาศออกมาอยางเปนทางการ ดังนั้น ผูที่ทํางานกับฐานขอมลในปัจจุบันจำเป็นเปนตองรูเนื่องจากระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบันเกือบทั้งหมดเป็นระบบฐานข้อมูลแบบ RDBMS SQL สามารถแบงคําสั่งออกเปน 4 กลุม คือ
 1. Data Manipulate(DML) เป็นคำสั่งจัดการข้อมูลได้แก INSERT, UPDATE, DELETE, ROLLBACK, COMMIT
2. Data Definition (DDL) เป็นคำสั่งจัดการเก็บไฟล์ในฐานข้อมูล ไดแกCREATE, ALTER, DROP 
3. Query เป็นคำสั่งการเรียกดูข้อมูล คือ SELECT 
4. Data Control เป็นคำสั่งจัดการความปลอดภัย

คำสั่ง SQL

1.คำสั่งในการเพิ่มข้อมูลลงตารางข้อมูล
Syntax : INSERT INTO  <table_name> [( column 1 , column 2 , …)]
                VALUES ( value 1 , value 2 , … ) ;


Detail : การป้อนข้อมูลด้วยคำสั่ง INSERT นี้อาจจะระบุชื่อ Column หรือ ไม่ระบุชื่อ Column ก็ได้ แต่ค่าของ value จะต้องมีค่าตรงกับ Column ในตารางของค่า



2.       คำสั่ง UPDAT  เป็นคำสั่งปรับปรุงข้อมูลในตาราง                                                                        
                         UPDATE  table-name                                                                                                            
                         SET column-name1=value1[,column-name2=value2,...]              
                         [WHERE condition];
3.       คำสั่ง DELET    เป็นคำสั่งลบข้อมูลแถวข้อมูลในตาราง                                                                   DELETE table-name                                                                              

                    [WHERE condition];


4.สืบค้นข้อมูลจากหนึ่งตาราง
      Syntax: SELECT column_name /*  [column_name …]
      FROM table_name
      Detail: เครื่องหมายดอกจัน หมายถึง ทุกคอลัมน์
      column_name   ชื่อคอลัมน์  ( ฟิลด์ )

      table_name ชื่อตาราง


5. สืบค้นข้อมูลโดยมีหลายเงื่อนไข
Syntax: SELECT column_name /*  [ , column_name …]
           FROM  table_name                                                                         
             WHERE     เงื่อนไขที่ 1 การรวมเงื่อนไข
                               เงื่อนไขที่ 2 [ การรวมเงื่อนไข เงื่อนไขที่_ n ]
Detail :  Condition                        เงื่อนไขต่างๆ                           
การรวมเงื่อนไข                                                                                                    
           AND   การรวมเงื่อนไขแบบทั้งหมด
           OR    การรวมเงื่อนไขแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง




6. สืบค้นข้อมูลเงื่อนไขปฏิเสธ
Syntax: SELECT column_name /*  [ , column_name …]
              FROM table_name                                                                        
               WHERE   เงื่อนไขปฏิเสธ   condition
 Detail :  Condition                                    เงื่อนไขใดๆ                            
เงื่อนไขปฏิเสธ
                NOT    ปฏิเสธ


7 .สืบค้นข้อมูลที่เป็นค่า NULL

Syntax: SELECT column_name /*  , column_name …]             FROM table_name                                                                      WHERE  expression IS [ NOT ]  NULL Detail: NULL                        คือข้อมูลที่ไม่มีค่าใดๆ                                            เมื่อมีการเพิ่มข้อมูลใน record โดยถ้าฟิลด์ใดไม่ได้ใส่ข้อมูลและฟิลด์ไม่มีการกำหนดค่าdefault ฟิลด์นั้นจะมีข้อมูลเป็น NULL


8.สืบค้นข้อมูลตามส่วนข้อความ
Syntax: SELECT  */ column_name [ , column_name …]
             FROM  table_name                                                        
           WHERE  expression [ NOT ] LIKE ‘string’                                  
Detail:  String คือ ส่วนของข้อความ เช่น
             “สม”  หรือ  ”พง” เป็นส่วนของคำว่า  ” สมพงษ์ ”
             “m”, ”i”  ,”o” , ”f” , ”t” เป็นส่วนของคำว่า  ” Microsoft ”
              % , *  ส่วนของข้อความใดๆไม่จำกัดตัวอักษร (* In MS Access)
              _ , ?ส่วนของข้อความใดๆหนึ่งตัวอักษร (? In MS Access)
              [ ]  ตัวอักษรใดๆที่ปรากฎในช่อง [a] หมายถึงต้องเป็น a
              [!]  ตัวอักษรใดๆที่ไม่ปรากฎในช่อง [!a] หมายถึงต้องไม่เป็น a
              [-]  ช่วงตัวอักษร เช่น [a - c] หมายถึง a , b , c



การกำจัดรายการซ้ำ Detail

9. คำสั่ง DISTINCT
     ใช้กำจัดรายการที่มีข้อมูลซ้ำกันให้เหลือเพียงรายการเดียว โดยใช้ข้อมูลใน Field ต่างๆที่กำหนดในคำสั่ง SELECT เป็นเกณฑ์

10. คำสั่ง DISTINCTROW
     ทำหน้าที่เช่นเดียวกับคำสั่ง DISTINCT แต่จะใช้ค่าของทุก Field เป็นเกณฑ์แทน   


วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

แนวข้อสอบ O-NET ม.6 วิชาคอมพิวเตอร์ ปี2553

1.ข้อใดไม่ใช่ระบบปฏิบัติการที่นำมาใช้บนอุปกรณ์พกพาประเภท  Smartphone.

1.  Ubumtu       2.  Iphone  os
3.  Android      4.  Symbian
เฉลยข้อ  1


2.ไฟล์ประเภทใดในข้อต่อไปนี้เก็บข้อมูลในลักษณะตัวอักษร.
1.  ไฟล์เพลง  MP 3 (mp 3)
2.  ไฟล์รูปประเภท  JPEG (jpeg)
3.  ไฟล์แสดงผลหน้าเว็บ (html)
4.  ไฟล์วีดีโอประเภท  Movie (movie)

เฉลยข้อ  3

3.ลิขสิทธิ์โปรแกรมประเภทรหัสเปิด(Open Source)อนุญาตให้ผู้ใช้ทำอะไรได้บ้าง.
ก.  นำโปรแกรมมาใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์
ข.  ทดลองใช้โปรแกรมก่อนถ้าพอใจจึงจ่ายค่าลิขสิทธิ์
ค.  แก้ไขปรับปรุงโปรแกรมเองได้

1.  ข้อ  ก กับ  ข้อ  ค      2.  ข้อ  ข  กับ  ข้อ  ค
3.  ข้อ  ข  อย่างเดียว     4.  ข้อ  ก  อย่างเดียว
เฉลยข้อ  4


4.ระบบกระดานสนทนาหรือเว็บบอร์ดแห่งหนึ่งมีความต้องการดังนี้
        

        ก.  ต้องให้ผู้ใช้สามารถตั้งกระทู้โต้ตอบกันได้โดยผู้ใช้ต้องแสดงตัวตน(ล็อกอิน)เพื่อเข้าระบบก่อน
        ข.  ผู้ใช้สามารถตั้งกระทู้หรือเข้าไปตอบกระทู้ที่ตั้งไว้แล้วได้
        ค.  ระบบจะบันทึกชื่อผู้ตั้งและผู้ตอบไว้ด้วยในการออกแบบฐานข้อมูลดังกล่าวข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง.

1.  ต้องสร้างตารางผู้ใช้ ตารางกระทู้และตารางคำตอบ
2.  ไม่ต้องสร้างตารางผู้ใช้เนื่องจากสามารถบันทึกชื่อผู้ใช้ในตารางกระทู้และตารางคำตอบได้เลย
3.  ต้องสร้างตารางผู้ใช้และตารางกระทู้ส่วนคำตอบจะอยู่ในตารางกระทู้อยู่แล้ว
4.  ไม่ต้องสร้างตารางกระทู้เพราะสามารถบันทึกกระทู้ที่ผู้ใช้ตั้งในตารางผู้ใช้ได้เลย
เฉลยข้อ  4


5.ข้อใดเป้นการปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลักวิชาการเมื่อค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเทอร์เนตมาทำรายงาน.
1.  คัดลอกเนื้อหาจากเว็บไซต์
2.  ใช้เนื้อหาจากกระดานสนทนา(Web board)มาใส่ในรายงาน
3.  นำรูปภาพจากเว็บไซต์มาใส่ในรายงาน
4.  อ้างอิงชื่อผู้เขียนบทความ
เฉลยข้อ  4


6.ห้องสมุดแห่งหนึ่งต้องการพัมนาระบบยืมหนังสือโดยสามารถบันทึกข้อมูลการยืมหนังสือลงบนบัตรอิเลคโทรนิกส์โดยไม่ต้องเขียนด้วยมือระบบนี้ควรใช้เทคโนโลยีในข้อใด.
1.  Smart  Card          2.  Fingerprint
3.  Barcode                 4.  WiFi
เฉลยข้อ  3


7.ผู้ประกอบอาชีพเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ต้องเชี่ยวชาญความรู้ด้านใดบ้างจากตัวเลือกต่อไปนี้.
ก.  ฮาร์แวร์คอมพิวเตอร์       ข.  ระบบปฎิบัติการ
ค.  เว็บเซิร์ฟเวอร์                   ง.  HTML
จ.  ระบบฐานข้อมูล                ฉ.  ภาษาจาวา(Java)
1.  ข้อ  ก และ ค                    2.  ข้อ  ข  และ  จ
3.  ข้อ  ค  และ  ง                   4.  ข้อ  ค  และ  ฉ
เฉลยข้อ  3


8.ข้อใดเป็นเทคโนโลยีการเชื่อมต่อข้อมูลไร้สายทั้งหมด.
1.  Wi-Fi  ,  IP              2.  Wi-Fi  ,Bluetooth
3.  3G  ADSL                4.  3G    Ethernet
เฉลยข้อ  2


9.ข้อใดไม่ใช่ข้อเสียของการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์.
1.  การทำผิดกฏหมายลิขสิทธิ์มีความผิดทางอาญา
2.  เป็นช่องทางหนึ่งในการระบาดของไวรัสคอมพิวเตอร์
3.  ผู้ใช้จะไม่ได้รับการบริการจากผู้พัมนาถ้าหากมีปัญหาการใช้งาน
4.  ทำให้ผู้พัมนาซอฟแวร์ไม่มีรายได้เพื่อประกอบการและพัฒนาต่อไปได้
เฉลยข้อ  2


10.ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด.
1.  การบันทึกข้อมูลลงแผ่นดีวีดีใช้เทคโนโลยีแบบแม่เหล็ก
2.  หมายเลขไอพีเป็นหมายเลขที่ใช้กำกับ  Network Interce Card
3.  หน่วยความจำสำรองเป็นหน่วยความจำที่มีคุณลักษณะแบบ Volntile
4.  รหัส ACIIและEBCIDICเป็นการวางรหัสตัวอักษรที่ใช้ขนาด  8 บิด
เฉลยข้อ  3 




ที่มา http://www.trueplookpanya.com/examination/answer/2029/2810689


วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ตัวอย่างการเขียนฟังก์ชัน

มาดูตัวย่างการเขียนฟังก์ชันกันค่ะ


ตัวอย่างที่ 1

  1. <html>  
  2. <head>  
  3. </head>  
  4. <body>  
  5. <?php  
  6.     function helloDoesystem(){  
  7.         echo "สวัสดีครับ นี่เป็นการทดสอบการเขียนฟังก์ชัน PHP จาก www.doesystem.com";  
  8.     }  
  9.     helloDoesystem();  
  10. ?>  
  11. </body>  
  12. </html>  
Output ที่ได้คือ
สวัสดีครับ นี่เป็นการทดสอบการเขียนฟังก์ชัน PHP จาก www.doesystem.com
ฟังก์ชันนี้ชื่อ helloDoesystem เวลาต้องการเรียกใช้ ก็แค่เรียกชื่อฟังก์ชัน

ตัวอย่างที่ 2 


  1. <html>  
  2. <head>  
  3. </head>  
  4. <body>  
  5. <?php  
  6.     function helloName($name){  
  7.         echo "สวัสดีครับ คุณ ".$name."<br>";  
  8.     }  
  9.     helloName("Somchai");  
  10.     helloName("SomYing");  
  11.     helloName("Sompong");  
  12. ?>  
  13. </body>  
  14. </html>  
Output ที่ได้คือ
สวัสดีครับ คุณ Somchai
สวัสดีครับ คุณ SomYing
สวัสดีครับ คุณ Sompong
ฟังก์ชันนี้ชื่อ helloName เวลาต้องการเรียกใช้ ก็แค่เรียกชื่อฟังก์ชันแล้วตามด้วยพารามิเตอร์ name ที่ต้องการให้แสดงออก

ตัวอย่างที่ 3


  1. <html>  
  2. <head>  
  3. </head>  
  4. <body>  
  5. <?php  
  6.     function helloName($name$lastname){  
  7.         echo "สวัสดีครับ คุณ ".$name." ".$lastname."<br>";  
  8.     }  
  9.     helloName("นารัตน์""พัดลมโชย");  
  10.     helloName("หรูหรา""ออมตง");  
  11.     helloName("นางหวด""สวามิพัก");  
  12. ?>  
  13. </body>  
  14. </html>  
Output ที่ได้คือ
สวัสดีครับ คุณ นารัตน์ พัดลมโชย
สวัสดีครับ คุณ หรูหรา ออมตง
สวัสดีครับ คุณ นางหวด สวามิพัก
ฟังก์ชันนี้ชื่อ helloName เวลาต้องการเรียกใช้ ก็แค่เรียกชื่อฟังก์ชันแล้วตามด้วยพารามิเตอร์ name กับ lastname ที่ต้องการให้แสดงออก

ตัวอย่างที่ 4


  1. <html>  
  2. <head>  
  3. </head>  
  4. <body>  
  5. <?php  
  6.     function add($x$y){  
  7.         return $x+$y;  
  8.     }  
  9.     echo add(2, 3)."<br>";  
  10.     echo "5 + 2 = ".add(5, 2)."<br>";  
  11.     add(4, 2)."<br>";  
  12. ?>  
  13. </body>  
  14. </html>  
Output ที่ได้คือ
5 5 + 2 = 7 ฟังก์ชันนี้ชื่อ add เป็นฟังก์ชันบวกเลขสองตัว เวลาต้องการเรียกใช้ ก็แค่เรียกชื่อฟังก์ชันแล้วตามด้วยพารามิเตอร์ x กับ y ที่ต้องการบวกกัน เวลาต้องการแสดงก็สั่ง echo ด้วยเพราะว่า ในฟังก์ชัน return ค่าออกมา

พื้นฐานการเขียนฟังก์ชันใน PHP

      ในการเขียนโปรแกรม การทำงานซ้ำ ๆ หลาย ๆ ครั้ง ถือเป็นเรื่องปกติในการเขียน ซึ่งการจะใช้โค้ดเดียวกันซ้ำ ๆ กันนั้น ส่วนมากเค้าไม่เขียนซ้ำ ๆ กันบ่อย ๆ แต่จะเขียนฟังก์ชันการทำงานขึ้นมา แล้วเวลาต้องการใช้ซ้ำ ๆ กัน ก็เพียงแค่เรียกชื่อฟังก์ชันขึ้นมาก็ถือว่าเป็นอันสิ้นสุด ดังนั้น ในบทความนี้ เรามาดูฟังก์ชันในภาษา PHP กัน
            ฟังก์ชันใน PHP มีอยู่ 2 แบบ นั่นคือ ฟังก์ชันมาตรฐาน (Built-In Function) ซึ่งเป็นฟังก์ชันที่ภาษา PHP มีให้อยู่แล้วสามารถเรียกใช้ได้เลย เช่น ฟังก์ชัน Date, sort เป็นต้น และฟังก์ชันอีกแบบคือ ฟังก์ชันแบบที่เราสร้างขึ้นเอง (User-Defined Function: UDF) ฟังก์ชันที่เราสร้างเองเป็นยังไง และสร้างยังไง มาดูกัน

เรามาดู Syntax ของการสร้างฟังก์ชันกันก่อน

  1. function functionName(){  
  2.     code to be executed;  

วิธีการตั้งชื่อฟังก์ชัน
1. ชื่อของฟังก์ชันควรสื่อความหมายที่ฟังก์ชันทำงาน
2. ชื่อของฟังก์ชันต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือขีดล่างเท่านั้น

ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สร้างขึ้นมาเอง

 ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สร้างขึ้นมาเอง
       ผู้ใช้สามารถสร้างฟังก์ชนขั้นมาใหม่ทําได้โดยง่ายโดยอาศยโครงสร้างพื้นฐานตัวแปร ค่าคงที โอเปอเรเตอร์และการควบคุมโปรแกรมที่กล่าวมาแล้ว มาใช้ในการสร้างฟังก์ชัน สำหรับฟังก์ชันที่ผู้ใช้สร้างขึ้นมาเองแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ 
1. ฟังก์ชันที่ไม่มีการสงค่าระหว่างฟังก์ชัน
ฟังก์ชนแบบนี้ ผู้ใช้จะต้องกําหนดชื่อและขั้นตอนการทํางานของฟังก์ชันไว้ทีต้นของโปรแกรมก่อน หลังจากนั้นสามารถเรียกใช้งานได้ทันทีรูปแบบการสร้างฟังก์ชันมีดังนี้
ตัวอย่างที่ 1
function functionName(){
              instructions;
}
functionName(); //เรียกใช้งาน

ตัวอย่างที่ 2
File: lab4-1.php
<?php
                              function Contact(){
                                       echo “ติดต่อเรา08-12345678”;
                              }
                             Contact();
?>
ผลลพธ์ ติดต่อเรา08-12345678


2. ฟังก์ชันที่มีการสงค่าระหวางฟังก์ชัน
         ฟังก์ชันแบบนี้จะมีการรับค่าเพื่อนําไปคํานวณภายในฟังก์ชันจนได้ผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา ภายในฟังก์ชันเป็นการใช้โครงสร้าง ตัวแปรโอเปอเรเตอร์อื่นๆรูปแบบการกําหนดฟังก์ชนจะเป็นดังนี้
ตัวอย่างที่ 1

 function functionName(parameter){
                return (instructions);
}
functionName(parameterValue); //เรียกใช้งาน

ตัวอย่างที่ 2
File: lab4-2.php
<html><body>
<?php
echo"จะแทรกไว้ส่วนบนของ Function ก็ได้ <br>";
echo circle_area(5);
function circle_area($radius){
               return M_PI*$radius*$radius;
}
?>
<br><br>หรือจะแทรกไว้สวนล่างของ Function ก็ได้<br>
<?php echo circle_area(5); ?>
</body></html>